การดูแลสุขภาพ
  • กรุณากรอกข้อมูล






  •  
  •  
  • 3M คำนึงถึงความเป็นส่วนตัวของคุณอย่างจริงจัง 3M และบริษัทภายนอกที่ได้รับอนุญาตจะใช้ข้อมูลที่คุณระบุโดยปฏิบัติตามนโยบายความเป็นส่วนตัวของเราเพื่อส่งข้อมูลการสื่อสารต่างๆ ซึ่งอาจรวมถึงโปรโมชั่น ข้อมูลผลิตภัณฑ์ และข้อเสนอบริการ โปรดทราบว่าข้อมูลนี้อาจจัดเก็บไว้ในสหรัฐอเมริกา หากคุณไม่ยินยอมให้ใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของคุณในลักษณะนี้ โปรดอย่าใช้ระบบนี้

  • ส่งข้อมูล

ขอบคุณสำหรับข้อมูล ระบบจัดส่งข้อมูลของท่านเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ขออภัย และ กรุณาส่งอีกครั้งหากระบบขัดข้องขณะส่งข้อมูล

ICU patient

การช่วยลดความเสี่ยงของ Secondary Complications และลดภาวะการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพ

เราสังเกตได้ว่าท่านถูกขอให้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆมากมาย และการปกป้องบุคลากรทางการแพทย์ด้วยอุปกรณ์ PPE ก็เป็นสิ่งสำคัญที่สุด นอกจากนั้นเรายังคอยช่วยสนับสนุนท่านในการลดความเสี่ยงของ secondary complications ลดภาวะการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพเพื่อที่ท่านจะได้ใช้เวลาใส่ใจสิ่งที่สำคัญที่สุด นั่นคือ การให้การดูแลผู้ป่วยนั่นเอง

ช่วยค้นหามาตรฐาน ข้อกำหนด และแหล่งข้อมูล เพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิด secondary complications และลดอุบัติการณ์ในการดูแลผู้ป่วยดังนี้


Clinician closely monitoring a patient
ECG alarm response

ในแต่ละวันพยาบาลต้องพร้อมตอบสนองต่อเสียงสัญญาน 700 ครั้งต่อวันนอนผู้ป่วย และหลายๆเสียงสัญญานเตือนเหล่านี้คือเสียงจาก ECG monitoring สัดส่วนสำคัญของเสียงสัญญาน ECG เป็นสัญญานเท็จ (false alarm) หรือสัญญานของอาการทางคลีนิคที่ไม่สำคัญ

  • ข้อแนะนำในการลดจำนวนครั้งที่ต้องตอบสนองต่อสัญญาน ECG ที่มีปัญหา

    • กำจัดขนบนบริเวณที่ทำการวัดสัญญาน
    • ทำความสะอาดผิวหนังและปล่อยให้แห้งอย่างดี
    • ขัดผิวหนัง(เฉพาะผู้ป่วยผู้ใหญ่)เพื่อลดความต้านทานของผิวหนังและเพิ่มคุณภาพการจับสัญญาน
    • ขณะติด Electrode กับผิวหนัง ให้ลูบเพื่อกาวแนบสนิทดีกับผิวหนัง
    • ประเมินที่มาของเสียงสัญญานที่เกิดขึ้นเป็นประจำ

คุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมในหัวข้อใดเป็นพิเศษหรือไม่? แจ้งพวกเราเพื่อรับการช่วยเหลือจากทีมงาน


Clinician monitoring a patient with a catheter
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือด

ทุกๆตำแหน่งของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดการติดเชื้อ การขยับเลื่อนหลุด  ผิวหนังเสียหาย และภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ และมาตรฐานการดูแลที่ถูกต้อง จะช่วยพัฒนาผลลัพธ์ที่ดีสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย

การพยาบาลและการดูแลการให้สารน้ำทางหลอดเลือด

  • การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ และมาตรฐานการดูแลที่ถูกต้อง จะช่วยพัฒนาผลลัพธ์ที่ดีสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
    ทบทวนข้อแนะนำปฏิบัติในการพยาบาลและการดูแลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย และหลอดเลือดดำส่วนกลาง

การทำการฆ่าเชื้อโรคและปกป้องทางเปิดเพื่อให้ยาและสารน้ำ

มาตรฐานการดูแลแบบดั้งเดิมในการฆ่าเชื้อบริเวณทางเปิดเพื่อให้ยาและสารน้ำคือการเช็ดขัด (scrub the hub) บริเวณทางเปิดนั้นด้วยแผ่นชุบแอลกอฮอล์ ทั้งนี้ฝาครอบฆ่าเชื้อ(Disinfecting Port protector)มีคุณประโยชน์มากมายเหนือกว่านโยบายที่ทำการฆ่าเชื้อแบบ scrub the hub

  • Disinfecting Port Protector (green cap) on a needleless connector
    ประหยัดเวลา

    ฝาครอบชนิดมีแอลกอฮอลให้ความรวดเร็วในการปฏิบัติ อีกทั้งประหยัดเวลาพยาบาลเมื่อเปรียบเทียบกับการ scrub the hub และไม่ต้องใช้เวลารอแห้งเพื่อการฆ่าเชื้ออีกด้วย

  • Disinfecting Port Protectors (green cap) on a needleless connector and male luer
    เป็นปราการปกป้องสิ่งปนเปื้อน

    ปกป้องสิ่งปนเปื้อนจากภายนอกได้ยาวนานถึง 7 วัน

  • ขจัดวิธีการปฏิบัติที่หลากหลาย

    การฆ่าเชื้อเกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ฝาครอบชนิดมีแอลกอฮอลหมุนเกลียวเข้าที่

  • Disinfecting Port Protectors,  alcohol caps for central lines
    ให้ความเชื่อมั่นด้วยการมองเห็น

    ฝาครอบชนิดมีแอลกอฮอล์มีสีสันสดใส ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสัเกตเห็นได้โดยง่าย และมั่นใจในความสะอาด


การยึดตรึงท่ออุปกรณ์สำคัญ

  • ในการศึกษาหนึ่งพบว่า 48.5% ของผู้ป่วยพบปัญหาการเลื่อนหลุดของ Nasogastric tube ดังนั้นท่านสามารถทบทวนจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ในการเลือกใช้วิธีการยึดตรึงท่ออุปกรณ์สำหรัลผู้ป่วย

  • Critical Tube Securement Nasogastric Application video
    การยึดตรึงท่อ NG tube
  • Critical Tube Securement Foley Platform Application video
    การยึดตรึงท่อสำหรับทางเดินปัสสาวะ
  • Critical Tube Securement Surgical Drain Application video
    การยึดตรึงท่อระบายจากการผ่าตัด

คุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมในหัวข้อใดเป็นพิเศษหรือไม่? แจ้งพวกเราเพื่อรับการช่วยเหลือจากทีมงาน


Clinician monitoring a patient with a pressure injury
แผลกดทับ

41%ของผู้ป่วยใน ICU มีโอกาสเกิดแผลกดทับ (PI) และส่วนใหญ่มักจะเกิดขึ้นภายในสัปดาห์แรกของการนอนโรงพยาบาล การที่ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงาย ส่งผล ให้เกิดความเสี่ยงงต่อการเกิดแผลกดทับ รวมถึงบริเวณที่มีท่ออุปกรณ์ต่างๆ บริเวณหน้า หัวเข่า ไหปลาร้า และกระดูกเชิงกราน

  • Explore tips from the National Pressure Injury Advisory Panel to help reduce the risk of PIs for prone positioning:


คุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมในหัวข้อใดเป็นพิเศษหรือไม่? แจ้งพวกเราเพื่อรับการช่วยเหลือจากทีมงาน


Clinicians monitoring for a infected would

Infected wounds

ในโรงพยาบาล 500 เตียง การมีแผลติดเชื้อจะทำให้ต้องอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น 10 วัน ทั้งนี้แผลติดเชื้อทุกแผลต้องการแผนการรักษาที่รัดกุมเพื่อจัดการกับการติดเชื้อ และสร้างสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการหายของแผล โดยขั้นตอนต่อไปนี้จะช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์

    • พิจารณาระดับของแบคทีเรีย
    • พัฒนาแผนงานการจัดการกับการติดเชื้อ ได้แก่ การกำจัดเนื้อตาย และ/หรือ การให้ยาปฏิชีวนะตามอาการทางคลีนิค
    • เลือกผลิตภัณฑ์ดูแลบาดแผลที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
  • การศึกษาแสดงให้เห็นว่าการรักษาที่ก้าวหน้า เช่น negative pressure wound therapy (NPWT) ที่ใช้ในการจัดการกับบาดแผล มีศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายในระบบสุขภาพ ได้แก่

        

    • ลดค่าใช้จ่ายในการดูแลใน acute และ post acute settings
    • ลดความเสี่ยงในการนอนโรงพยาบาล และ กรณีการดูแลแบบเร่งด่วน
    • ลดเวลาการให้การพยาบาลโดยรวม และ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องจากบาดแผล
    • ลดความเสี่ยงในการต้องทำ skin graft ซ้ำ และ เกี่ยวเนื่องกับระยะเวลาในดารอยู่โรงพยาบาล
  • การใช้ topical wound solutions ร่วมกับ NPWT สามารถช่วยสนับสนุนการกำจัดสิ่งคัดหลั่งของแผลและวัสดุติดเชื้อออกจากแผล ซึ่งแสดงให้เห็นในการศึกษาทางคลีนิคถึงการส่งเสริมการหายของแผลเปรียบเทียบกับการใช้ NPWTแบบดั้งเดิมเพียงลำพัง

    หมายเหตุ : ข้อบ่งใช้เฉพาะเจาะจง ข้อห้าม คำเตือน ข้อควรระวัง และข้อมูลความปลอดภัย สำหรับผลิตภัณฑ์ KCI และ การรักษา 
    กรุณาปรึกษาแพทย์และศึกษาคำแนะนำผลิตภัณฑ์ก่อนใช้งาน โดยข้อมูลนี้มีจุดประสงค์สำรับบุคลากรทางการแพทย์เพื่อการรักษาเท่านั้น


คุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมในหัวข้อใดเป็นพิเศษหรือไม่? แจ้งพวกเราเพื่อรับการช่วยเหลือจากทีมงาน


  • เอกสารอ้างอิง

    1. Cvach MM, Biggs M, Rothwell KJ, Charles-Hudson C. Daily electrode change and effect on cardiac monitor alarms: an evidence-based practice approach. J Nurs Care Qual. 2013;28:265-271.
    2. Drew BJ, Harris P, Zegre-Hemsey JK, et al. Insights into the problem of alarm fatigue with physiologic monitor devices: a comprehensive observational study of consecutive intensive care unit patients. PloS One. 2014; 9(10): e110274.
    3. Bonafide CP, Localio AR, Holmes JH, et al. Video analysis of factors associated with response time to physiologic monitor alarms in a children’s hospital. JAMA Pediatr. 2017; 171(6): 524-531.
    4. Pancordo-Hidalgo, P., Garcia-Fernandez, F., Ramirez-Perez, C. (2001). Complications associated with enteral nutrition by nasogastric tube in an internal medicine unit. Journal of Clinical Nursing. Site accessed February 3, 2020. https://doi.org/10.1046/j.1365-2702.2001.00498.x
    5. Cox J, Roche, S and Murphy V. (2018). Pressure Injury Risk Factors in Critical Care Patients: A Descriptive Analysis. Adv Skin & Wound Car,. 31(7): 328-334.
    6. Zhan C, Miller MR. Excess Length of Stay, Charges, and Mortality Attributable to Medical Injuries During Hospitalization. JAMA. 2003 October 8; 290(14): 1868-74.
    7. Apelqvist J, Armstrong DG, Lavery LA, et al. Resourc utilization and economic costs of care based on a randomized trial of vacuum-assisted closure therapy in the treatment of diabetic foot wounds. Am J Surg. 2008; 195 (5): 782-8.
    8. Lavery LA, Boulton AJ, Niezgoda JA, et al. A comparison of diabetic foot ulcer outcomes using negative pressure would therapy versus historical standard of care.International Wound Journal. 2007; 4(2): 103-13.
    9. Schwien T, Gilbert J, Lang C. Pressure ulcer prevalence and the role of negative pressure wound therapy in home health quality outcomes. Ostomy Wound Manage. 2005; 51(9): 47-60.
    10. Vuerstaek JD, Vainas T, Wuite J, et al. State-of-the-art treatment of chronic leg ulcers: A randomized controlled trial comparing vacuum-assisted closure (V.A.C.) with modern wound dressings. J Vasc Surg. 2006; 44: 1029-38.
    11. Scherer LA, Shiver S, Chang M, et al. The vacuum assisted closure device. A method of securing skin grafts and improving graft survival. Archives of Surgery. 2002 Aug;137 (8): 930-934.
    12. Gabriel A, Rauen B, Simplified Negative Pressure Wound Therapy with Instillation: Advances and Recommendations. Plast Surg Nurs 2014;34(2):88-92.